แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
สำหรับในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1. นิยามและความหมายของระบาดวิทยา
2. ประวัติความเป็นมาและขอบเขตของระบาดวิทยา
3. วัตถุประสงค์และประโยชน์ของการศึกษาทางระบาดวิทยา
4. บทบาทของนักสาธารณสุขในงานระบาดวิทยา
แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ทำให้เกิดโรค มนุษย์และสิ่งแวดล้อม
เนื้อหาประจำบทประกอบด้วย
1. ปัจจัยสามทางระบาดวิทยา
2. สิ่งที่ทำให้เกิดโรค
3. มนุษย์หรือโฮสท์
4. สิ่งแวดล้อม
5. ปฏิกิริยาระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่ทำให้เกิดโรค
6. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยสามทางระบาดวิทยา
ธรรมชาติของการเกิดโรค
ในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในหัวข้อ
1.ธรรมชาติของโรค
2.ระดับการป้องกันโรค
3.แนวทางการป้องกันโรค
การกระจายของโรคในชุมชน
ในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1.วัตถุประสงค์ของการศึกษาการกระจายของโรค
2.ประโยชน์การเรียนรู้การกระจายของโรค
3.วิธีวัดการกระจายของโรคในชุมชน
4.การกระจายของโรคตามลักษณะของบุคคล
5.การกระจายของโรคตามสถานที่
6.การกระจายของโรคตามเวลา
การวัดการป่วยและการตาย
บทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัตรา อัตราส่วน และสัดส่วน
2. การวัดการป่วย
3. การวัดการตาย
ดัชนีอนามัย
บทนี้นักศึกษาจะได้ศึกษาในหัวข้อ
1.ความหมายของดัชนีอนามัย
2.ประโยชน์ของดัชนีอนามัย
3.แนวคิดพิ้นฐานของดัชนีอนามัย
4.ชนิดของดัชนีอนามัย
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา
บทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในหัวข้อ
1.การแบ่งชนิดของการศึกษาทางระบาดวิทยา
2.ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
3.ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
4.ระบาดวิทยาเชิงทดลอง
5.การเลือกรูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา
การสืบสวนสอบสวนการระบาดของโรค
ในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในหัวข้อ
1.ความหมายของการระบาดของโรค
2.ชนิดของการระบาดของโรค
3.ขั้นตอนในการสืบสวนสอบสวนการระบาดของโรค
การตรวจคัดกรองโรคและการเฝ้าระวังโรค
ในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1.รูปแบบการตรวจคัดกรองโรค
2.เกณฑ์ในการประเมินผลในการทดสอบเพื่อตรวจคัดกรองโรค
3.การคำนวณค่าดัชนีที่ใช้ในการประเมินผลการทดสอบ การเฝ้าระวังโรค
4.ความหมายและองค์ประกอบของการเฝ้าระวัง
5.วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของการเฝ้าระวัง
6.แนวคิดเกี่ยวกับงานเฝ้าระวังโรค
7.วิธีการดำเนินงานเฝ้าระวัง
8.ข่ายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การวินิจฉัยอนามัยชุมชน
บทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในหัวข้อ
1.ความหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
2.ขั้นตอนในการวินิจฉัยอนามัยชุมชน
ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
ในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1.ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์
2.ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส
3.ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ
ระบาดวิทยาของโรคที่เกิดจากการทำงาน
ในบทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1.ความหมายและความสำคัญ
2.สถานการณ์โรคจากการประกอบอาชีพ
3.องค์ประกอบที่ทำให้เกิดโรค
4.สาเหตุของการเกิดอันตรายจากการประกอบอาชีพ
5.การป้องกันอันตรายจากการประกอบอาชีพ
ระบาดวิทยาของโรคไร้เชื้อ อุบัติเหตุ
บทนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
1.ความหมายของอุบัติเหตุ
2.อุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย
3.การป้องกันอุบัติเหตุการจราจรทางบก