บทที่ 1 ความหมาย และความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.ความหมายของโภชนาการ
2.ประวัติและวิวัฒนาการของการศึกษาด้านโภชนศาสตร์
3.คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับโภชนาการ
4.ความสำคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ
5.โภชนาการกับความสำคัญในการดำรงชีวิต
บทที่ 2 ความเชื่อและพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.แนวคิดความเชื่อเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
2.แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
3.แนวคิดความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
4.ผลการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย
บทที่ 3 อาหารและสารอาหารที่จำเป็นสำหรับชีวิตมนุษย์ในวัยต่างๆ
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.สารอาหารและแหล่งของสารอาหาร
2.ความต้องการสารอาหารและพลังงานของร่างกาย
3.กระบวนการย่อยและการดูดซึมของสารอาหาร
4.คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน และแร่ธาตุ
5.อาหารในแต่ละช่วงวัย
วิดีโอการสอน
บทที่ 4 ปัญหาโภชนาการ สาเหตุและผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.ภาวะทุพโภชนาการ
2.โรคขาดสารอาหารที่สำคัญ
3.ปัญหาโภชนาการกับการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
บทที่ 5 หลักปฏิบัติด้านอาหารในภาวะต่างๆ (โภชนบำบัด)
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.หลักปฏิบัติด้านอาหารในภาวะปกติ
2.หลักปฏิบัติด้านอาหารสำหรับกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค
3.หลักปฏิบัติด้านอาหารสำหรับผู้ป่วยเพื่อบำบัดโรค
บทที่ 6 การประเมินภาวะโภชนาการ
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.แนวคิดหลักการการประเมินภาวะโภชนาการ
2.การประเมินภาวะโภชนาการด้วยการวัดส่วนต่างๆ ของร่างกาย
3.การประเมินภาวะโภชนาการทางชีวเคมี
4.การประเมินภาวะโภชนาการทางคลินิก
5.การประเมินภาวะโภชนาการจากการบริโภคอาหาร
วิดีโอการสอน
บทที่ 7 การเฝ้าระวังทางโภชนาการ
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
2.การพัฒนาระบบและกระบวนการเฝ้าระวังทางโภชนาการ
3.การดำเนินงาน เฝ้าระวังทางโภชนาการในประเทศไทย
บทที่ 8 นโยบายและแผนงานโภชนาการตามแผนพัฒนาการสาธารณสุขแห่งชาติ
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย
2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
3.ตัวชี้วัดและระบบงานโภชนาการของไทย
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการกับการสาธารณสุข
เนื้อหาประจำบท ประกอบด้วย
1.บทบาทนักวิชาการสาธารณสุขกับการส่งเสริมโภชนาการในครอบครัว
2.บทบาทนักวิชาการสาธารณสุขกับการส่งเสริมโภชนาการในโรงเรียน
3.บทบาทนักวิชาการสาธารณสุขกับการส่งเสริมโภชนาการในชุมชน