บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และการวิเคราะห์ระบบ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ บทนี้คือ นักศึกษาทราบถึงความหมายของระบบ ทราบถึงความหมายและชนิดของระบบสารสนเทศ ,มีความเข้าใจถึงระบบสารสนเทศและการนำไปประยุกต์ใช้ และทราบถึงหน้าที่และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
เพื่อให้ทราบถึง ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ ขึ้นตอนการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ วงจรพัฒนาระบบ แนวทางการพัฒนาระบบ เครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการพัฒนาระบบ
บทที่ 3 วัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การกำหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้ การกำหนดความต้องการ และการเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 4 เครื่องมือเพื่อใช้ในการวิเคราะห์และการออกแบบระบบสารสนเทศ
บทนี้จะทำให้นักศึกษาทราบถึง การรวบรวมความต้องการใช้งานของผู้ใช้ วิธีการรวบรวมความต้องการของผู้ใช้งาน ได้แก่ การศึกษาจากเอกสาร การค้นคว้าข้อมูล การสัมภาษณ์การใช้แบบสอบถาม การสังเกตการณ์การออกแบบแอพพลิเคชันร่วมกันการสร้างโปรแก
บทที่ 5 การวิเคราะห์ระบบ
สามารถเขียน เขียนความต้องการของระบบ และการเขียนข้อกำหนดเกี่ยวกับความต้องการของระบบ(System Requirement Specification:SRS) ได้
บทที่ 6 การออกแบบระบบโดยใช้แผนภาพแสดงแบบจำลองเพื่อการสื่อสาร
เรียนรู้เรื่องการ แบบจำลองกระบวนการ แผนภาพการไหลของข้อมูล การเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูล เข้าใจวิธีการอ่านข้อมูลจากแผนภาพได้
บทที่ 7 แบบจำลองข้อมูล และยุทธวิธีการออกแบบฐานข้อมูล
แผนภาพ E-R
ตัวอย่างการสร้างแผนภาพ E-R ความสัมพันธ์ระหว่างแบบจำลองกระบวนการและแบบจำลองข้อมูล
บทที่ 8 การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
เพื่อให้นักศึกษาสามารถออกแบบเอาต์พุต และการออกแบบอินพุต ตรงตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน และการออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์การออกแบบด้านความปลอดภัย ได้อย่างถูกต้อง
บทที่ 9 การจัดสร้างระบบ จัดสร้างต้นแบบ
นักศึกษาเข้าใจยุทธวิธีการออกแบบ การจัดสร้างระบบ จัดสร้างต้นแบบ เข้าใจวิธีพื้นฐานในการพัฒนาระบบ
บทที่ 10 การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
ขั้นตอนลำดับสุดท้ายในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วย การเขียนโปรแกรม การทดสอบระบบ ซึ่งเป็นบทบาทหน้าที่ของผู้ทดสอบระบบการจัดทำแผนการทดสอบระบบ และออกแบบขั้นตอนการทดสอบระบบ