บทที่ 1 โรคจากการประกอบอาชีพ
หัวข้อเนื้อหาประจำบท
โรคจากการประกอบอาชีพ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค
สาเหตุ กลไก การทำงานของร่างกายและการเกิดโรค
การวินิจฉัยโรค
หลักในการเฝ้าระวังโรคจากการประกอบอาชีพ
หลักการป้องกันโรคจากการทำงาน
บทที่ 2 การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง
การประเมินสิ่งคุกคาม
การประเมินการสัมผัส
การประเมินขนาดสัมผัสกับการตอบสนอง
การอธิบายลักษณะของความเสี่ยง
บทที่ 3 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางกายภาพ
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางกายภาพ
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความร้อน
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความเย็น
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความกดอากาศสูง
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความกดอากาศต่ำ
บทที่ 3 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางกายภาพ (ต่อ)
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากเสียง
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากความสั่นสะเทือน
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากรังสีชนิดไม่แตกตัว
คลื่นความถี่วิทยุและไมโครเวฟ
แสงใต้แดง
แสงธรรมดา
แสงเหนือม่วง
แสงเลเซอร์
โรคจากการประกอบอาชีพที่มีสาเหตุจากรังสีชนิดที่แตกตัว
บทที่ 4 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางเคมี
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางเคมี
การเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี
ประเภทของสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
โรคพิษโลหะหนัก
สารหนู
โรคพิษตะกั่ว
โรคพิษเหตุสารระเหยและสารทำละลาย
โรคพิษสารทำละลายอินทรีย์อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
โรคพิษสารทำละลายอินทรีย์อะลิแฟติกไฮโดรคาร์บอน
สารพิษสารทำละลายอินทรีย์ประเภทแอลกอฮอล์
บทที่ 4 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางเคมี (ต่อ)
โรคพิษจากก๊าซ
โรคพิษจากก๊าซที่ทำให้เกิดการระคายเคือง
โรคพิษจากก๊าซที่ทำให้เกิดภาวะจากออกซิเจน
โรคพิษจากสารเคมีการเกษตรและสารเคมีอื่น ๆ
โรคพิษจากสารกำจัดแมลงและศัตรูพืช
โรคจากสารกำจัดวัชพืช
โรคพิษจากสารกัดกร่อน
บทที่ 5 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางชีวภาพ
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางชีวภาพ
2. อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
3. กลไกการเกิดความผิดปกติและโรค
4. อาการและอาการแสดงของโรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางชีวภาพ
5. การควบคุมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางชีวภาพ
6. มาตรการการป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากสิ่งคุกคามทางชีวภาพ
7. โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัสบี (hepatitis b)
8. โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัสซี (hepatitis c)
9. โรควัณโรค
10. โรคซาร์ส หรือโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
11. โรคไข้หวัดนก
12. โรคคิวฟีเวอร์
13. โรคเล็ปโตสไปโรซีส
14. โรคจากฝุ่นไม้
บทที่ 6 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากปัญหาทางการยศาสตร์ และจิตวิทยาสังคม
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากปัญหาทางการยศาสตร์
การบาดเจ็บสะสมของระบบกล้ามเนื้อกระดูก
อาการปวดหลังจากการทำงาน
อาการปวดคอ
อาการปวดไหล่
การบาดเจ็บสะสมจากการทำงานของระบบหรือส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย
การบาดเจ็บสะสมของเส้นประสาท
การบาดเจ็บสะสมของระบบไหลเวียนโลหิต
กลุ่มอาการที่เกิดจากการทำงานกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกิดจากปัญหาทางการยศาสตร์ และจิตวิทยาสังคม (ต่อ)
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางจิตวิทยาสังคม
ความเครียดและปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ในการทำงาน
ความเครียดจากการทำงาน
บทที่ 7 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับโรคระบบหายใจ โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง
โรคจากการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับโรคระบบหายใจ
โรคซิลิโคสิส
โรคแอสเบสโตสิส
โรคบิสสิโนสิส
โรคหืดจากการประกอบอาชีพ
โรคปอดจากฝุ่นโลหะหนัก
โรคซิเดโรสิส
การระคายเคืองทางเดินหายใจส่วนบนจากการทำงาน
บทที่ 7 โรคจากการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับโรคระบบหายใจ โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง (ต่อ)
โรคผิวหนังจากการประกอบอาชีพ
โรคผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสแบบระคายเคือง
โรคผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสแบบภูมิแพ้
โรคด่างขาว
โรคมะเร็งจากการประกอบอาชีพ
โรคมะเร็งปอดจากการประกอบอาชีพ
โรคมะเร็งผิวหนังจากการประกอบอาชีพ
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวจากการประกอบอาชีพ
บทที่ 8 ระบาดวิทยาด้านอาชีวอนามัย
ความหมายของระบาดวิทยาด้านอาชีวอนามัย
วัตถุประสงค์ของการประยุกต์ระบาดวิทยาในงานอาชีวอนามัย
การประเมินการสัมผัสสิ่งคุกคาม
ตัวชี้วัดเกี่ยวกับการเกิดโรคหรือปัญหาสุขภา
บทที่ 8 ระบาดวิทยาด้านอาชีวอนามัย (ต่อ)
รูปแบบการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา
ปัญหาหรือข้อคำนึงเกี่ยวกับความเชื่อถือได้ของผลการศึกษาวิจัย
การแปลผลจากการวิจัยทางระบาดวิทยา
แนวทางการประเมินบทความหรือรายงานการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา
บทที่ 9 การประยุกต์ระบาดวิทยาในการศึกษาปัญหาด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
กรณีศึกษาการประยุกต์ระบาดวิทยาในการศึกษาขนาดของผลกระทบสุขภาพ จากการทำงาน
กรณีศึกษาการประยุกต์ระบาดวิทยาในการศึกษาประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมป้องกันด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
กรณีศึกษาการประยุกต์ระบาดวิทยาในการศึกษาสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของผลกระทบสุขภาพจากการทำงาน
กรณีศึกษาการประยุกต์ระบาดวิทยาในการศึกษาผลกระทบสุขภาพของสารเคมีชนิดใหม่ในกระบวนการผลิต