บทที่ 1 บทบาทการบริหารการเงิน
เนื้อหาบทที่ 1 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัตุประสงค์ของธุรกิจ วัตุประสงค์ของการบริหารการเงิน หน้าที่ของผู้บริหารการเงิน และความรับผิดชอบในการดำเนินธุรกิจ จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 และนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 2 ค่าของเงินตามเวลา
เนื้อหาบทที่ 2 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของมูลค่าเงินตามเวลา ประเภทของมูลค่าเงินตามเวลา และวิธีการคำนวณมูลค่าเงินตามเวลา จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 และนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 3 การวิเคราะห์ทางการเงิน
เนื้อหาบทที่ 3 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของการวิเคราะห์ทางการเงิน วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ทางการเงิน และเครื่องมือวิเคราะห์ทางการเงิน จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 และนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 4 การวางแผนทางการเงิน
เนื้อหาบทที่ 4 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของการวางแผนทางการเงิน กระบวนการวางแผนทางการเงิน การพยากรณ์ทางการเงิน วิธีการพยากรณ์ทางการเงิน และประโยชน์จากงบประมาณเงินสด จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 และนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 5 การวางแผนกำไร
เนื้อหาบทที่ 5 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของจุดคุ้มทุน ประเภทของต้นทุน การคำนวณและวิเคราะห์จุดคุ้มทุน การวางแผนกำไรโดยใช้วิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ข้อจำกัดและประโยชน์ของการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 และนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 6 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
เนื้อหาบทที่ 6 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของเงินทุนหมุนเวียน ประเภทของเงินทุนหมุนเวียน และการจัดหาเงินทุนสำหรับสินทรัพย์หมุนเวียน
บทที่ 7 การบริหารเงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด
เนื้อหาบทที่ 7 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารเงินสด และการบริหารหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาดจากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6 และ 7 พร้อมทั้งนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 8 การบริหารลูกหนี้
เนื้อหาบทที่ 8 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการบริหารลูกหนี้ นโยบายในการให้สินเชื่อและการจัดเก็บหนี้ การวิเคราะห์สินเชื่อ และการจัดการเรียกเก็บหนี้ จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 8 พร้อมทั้งนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 9 การบริหารสินค้าคงเหลือ
เนื้อหาบทที่ 9 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของสินค้าคงเหลือ ประเภทของสินค้าคงเหลือ การกำหนดขนาดของสินค้าคงเหลือ การควบคุมและบริหารสินค้าคงเหลือ จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 9 พร้อมทั้งนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 10 งบประมาณเงินทุน
เนื้อหาบทที่ 10 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของงบประมาณเงินทุน ความสำคัญของงบประมาณเงินทุน ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเงินทุน และการประเมินค่าโครงการลงทุน จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 10 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 11 โครงสร้างทางการเงิน
เนื้อหาบทที่ 11 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของโครงสร้างทางการเงิน ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการจัดโครงสร้างเงินทุน การวิเคราะห์ทางเลือกในการจัดหาเงินทุน และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างทางการเงิน จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 11 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 12 ต้นทุนเงินทุน
เนื้อหาบทที่ 12 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของความหมายของต้นทุนเงินทุน การคำนวณต้นทุนเงินทุน และต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 12 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 13 การจัดหาเงินทุนระยะสั้น
เนื้อหาบทที่ 13 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของการจัดหาเงินทุน ลักษณะที่มาของเงินทุน และแหล่งเงินทุนระยะสั้น จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 13 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 14 การจัดหาเงินลงทุนระยะปานกลาง
เนื้อหาบทที่ 14 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งที่มาของเงินทุนระยะปานกลาง การเลือกสถาบันการเงิน และประเภทของเงินทุนระยะปานกลาง จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 14 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 15 การจัดหาเงินลงทุนระยะยาว
เนื้อหาบทที่ 15 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแหล่งเงินทุนระยะยาว ตลาดการเงิน และประเภทของหลักทรัพย์ จากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 15 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด
บทที่ 16 นโยบายเงินปันผล
เนื้อหาบทที่ 16 นักศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเงินปันผลและมูลค่าของธุรกิจ ทฤษฎีเกี่ยวกับเงินปันผล ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดนโยบายเงินปันผล ประเภทของนโยบายเงินปันผล และขั้นตอนการจ่ายเงินปันผลจากนั้นให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 16 พร้อมนำส่งตามเวลาที่กำหนด