บทที่ 1 แนวคิด หลักการและองค์ประกอบของระบบสุขภาพชุมชน
1.1 ความหมายระบบสุขภาพชุมชน
1.2 ความสำคัญและความเป็นมาของระบบสุขภาพชุมชน
1.3 ความสัมพันธ์ของสุขภาพ สุขภาพชุมชน ระบบสุขภาพและระบบสุขภาพชุมชน
1.4 หลักการของระบบสุขภาพชุมชน
1.5 องค์ประกอบของระบบสุขภาพชุมชน
1.6 ระดับบริการสุขภาพและลักษณะของการบริการสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน (การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ)
บทที่ 2 ปัจจัยกำหนดด้านสุขภาพระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน
2.1 ความหมายของปัจจัยกำหนดด้านสุขภาพ
2.2 ปัจจัยกำหนดด้านสุขภาพบุคคล ครอบครัวและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพชุมชน
2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัวและชุมชนในระบบสุขภาพชุมชน
บทที่ 3 สาธารณสุขและระบบประกันสุขภาพของไทย
3.1 ประวัติและวิวัฒนาการของการสาธารณสุขไทย
3.2 การสาธารณสุขและระบบสุขภาพชุมชน
3.3 ระบบพลิกฟื้นสุขภาพชุมชน
3.4 พัฒนาการระบบประกันสุขภาพของไทย
3.5 แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ. 2560-2579)
3.6 ทิศทางและแนวโน้มระบบประกันสุขภาพของไทย
บทที่ 4 สาธารณสุขและระบบประกันสุขภาพของประเทศอาเซียน
4.1 ประวัติและวิวัฒนาการของการสาธารณสุขในกลุ่มประเทศอาเซียน
4.2 การสาธารณสุขและระบบสุขภาพชุมชนในกลุ่มประเทศอาเซียน
4.3 สถานการณ์สุขภาพในกลุ่มประเทศอาเซียน
4.4 ความแตกต่างของระบบบริการสุขภาพในกลุ่มประเทศอาเซียน
บทที่ 5 การสร้างเสริมสุขภาพ
5.1 ความหมายการสร้างเสริมสุขภาพ
5.2 วิวัฒนาการของการสร้างเสริมสุขภาพ
5.3 การสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน
5.3 แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพ กฎบัตรออตตาวาโตรอนโต
5.4 เปรียบเทียบความแตกต่างของการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
5.5 ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและต่างประเทศ
5.6 การมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพในระบบุขภาพชุมชน
บทที่ 6 แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน
6.1 Environmental approach: ecological model
6.2 Political economy approach:
PRECEDE-PROCEED Model
6.3 Health attitude, belief and behavior change approach:
- Health belief model
- Learning theories (self-efficacy)
- Health attitude
- Health promotion model
- Transtheoretical model
6.4 การประยุกต์ใช้ Health attitude, belief and behavior change approach ในการสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน
บทที่ 7 กลวิธีการสร้างเสริมสุขภาพในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม
- build healthy public policy
- create supportive environments
- reorient health services
- strengthen community action
- develop personal skills
- Social Marketing
- Advocacy
- Social Support
- Empowerment
- Counseling and Focus group
บทที่ 8 แผนงานและโครงการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล ระดับครอบครัวและระดับชุมชน
8.1 ความหมายของแผนงานและโครงการเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล ระดับครอบครัวและระดับชุมชน
8.2 วิธีการเขียนแผนงาน
8.3 รูปแบบและวิธีการเขียนโครงการ
บทที่ 9 การพยาบาลอนามัยโรงเรียน
9.1 แนวคิดการพยาบาลอนามัยโรงเรียน
9.2 ความสัมพันธ์ของการพยาบาลอนามัยโรงเรียนกับระบบสุขภาพชุมชน
9.3 บทบาทพยาบาลในการพยาบาลอนามัยโรงเรียน
9.4 การประเมินโรงเรียนและมาตรฐานการบริการสุขภาพในโรงเรียน
9.5 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
9.6 การดำเนินงานอนามัยโรงเรียนโดยใช้กระบวนการพยาบาล
9.7 การประยุกต์แนวคิดงานอนามัยโรงเรียนในการสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน
วิดีโอการสอน
Play Video
Play Video
บทที่ 10 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพแก่บุคคล ครอบครัวและโรงเรียนในชุมชน
10.1 ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
10.2 ลักษณะของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล ครอบครัวและโรงเรียนในชุมชน
10.3 ทิศทางและแนวโน้มของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน
10.4 ประโยชน์ของเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ
10.5 ขั้นตอนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพให้บุคคล ครอบครัวและโรงเรียนในชุมชน
10.6 การประเมินการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีและนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพแก่บุคคล ครอบครัวและโรงเรียนในชุมชน
วิดีโอการสอน
Play Video
Play Video
บทที่ 11 โภชนาการและโภชนบำบัด
11.1 แนวคิดของโภชนาการและสุขภาพ
11.2 สารอาหาร โภชนาการในช่วงวัยต่าง ๆ ของชีวิต
11.3 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ
11.4 การประเมินภาวะโภชนาการ
11.5 โภชนบำบัด
11.6 สถานการณ์และปัญหาโภชนาการในปัจจุบันและอนาคต
11.7 การเฝ้าระวังทางโภชนาการ
11.8 บทบาทของพยาบาลด้านโภชนาการ
วิดีโอการสอน
Play Video
Play Video
บทที่ 12 ประเด็นและแนวโน้มสิทธิมนุษยชน กฎหมาย
สัมมนาประเด็นและแนวโน้มสิทธิมนุษยชน กฎหมาย จริยธรรมและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพชุมชน